15 February 2010

Nord Pas-de-Calais : Introduction


Nord Pas-de-Calais : Introduction



Slightly smaller than Connecticut (the region covers 4,800 square miles), Nord-Pas de Calais is bounded on the west by 85 miles of coastline that serve as a gateway to the U.K. and the North Sea. To the north lies Belgium, to the south the Picardy region and to the east the Ardenne plateau. Home to 3.97 million people, it takes its name from the two départements that define its territory: Nord and Pas de Calais.



Colorful Flanders and Hainault.

In the region’s northern reaches lies Flanders, a land of fertile plains punctuated by verdant hills. It is the site of the city of Lille, which boasts a uniquely rich and varied architectural and cultural heritage. The old part of the city deserves a leisurely stroll to admire the historic houses with colorful, carved facades. The city is also an important artistic center, and modern art has found its way into the city’s new subway where contemporary creations have added an original touch. Greater Lille includes a total of 23 municipalities, among which those of Roubaix and Tourcoing, former textile towns that have been redeveloped into mail order and telecommunications centers.


South of Lille is an area known as Hainault, where painters have long captured the beauty of local landscapes in paintings that fill the museums of its cities: Valenciennes, Cambrai and Douai. The Cistercian Abbey in Vaucelles––the largest in Europe––and that of Saint-Amand-les-Eaux are monuments to the ancient art of stonemasonry. Valenciennes is closely identified with another time-honored art, that of lace-making.



Victor Hugo’s Favorite Landscape.
The former province of Artois lies on an extension of a Picardy plateau and occupies the region’s southern edge. It is a lush, sometimes damp, countryside that includes the rich agricultural plain fed by the Scarpe River around the main city, Arras. Visitors enjoy the woodlands and valleys that are ideal for hiking, bicycling and horseback riding. Victor Hugo spoke gloriously of the area and described it as “the most beautiful countryside in the world, hills and valleys rising in magnificent undulations.”


Lush pastures that feed its famous dairy cows, leafy hedgerows, rivers and forests make up the easternmost tip of the region--the Avesnois district. There, nature’s own rhythm reigns to make it an area of peace and quiet that is greatly appreciated by walkers and anglers.



Opalescent Waters and Northern Light.




Since the beginning of the 20th century, the sandy beaches of the Côte d’Opale, so named after the opalescent Channel seawater, have been magnets first for vacationing Britons and now for tourists from all parts of the world. Stretching from Boulogne-sur-Mer, France’s leading fishing port, to the region’s southern boundary, the coast includes the resorts of Le Touquet, with its casino and 2,000 acres of woodland that shelter elegant villas, and Stella-Plage, where the pine-covered hinterland serves as a backdrop for the beaches. Another beach, Berck-Plage, was developed in the 19th century around a medical facility that still treats arthritic children with seawater baths.



The distinctive “northern light” found in Dutch and Flemish painting bathes Nord-Pas de Calais’ architectural heritage: colorful windmills, steep-gabled red brick facades, abbeys and chapels with richly adorned altars. Since Lille, Arras, Valenciennes and Douai were among the great trading centers of medieval Flanders, their stock exchanges and town halls with distinctive belfries are models of Flemish architecture. The streets of Lille bear more resemblance to those of Antwerp than to the Paris rues, and the windmills in the countryside recall landscape paintings of Flemish or Dutch artists. The region offers endless possibilities for sports and leisure activities. And with over 20 courses whose links rival those of neighboring Britain, Nord-Pas de Calais is a golfer’s paradise.










Submitted by France.com on November 25, 2003 - 10:33am.
http://web.france.com/Nord-pas_de_calais/introduction

"Nord-Pas de Calais" A Brief History


Nord Pas-de-Calais: A Brief History





Initially the territory of the Belgae, a Celto-Germanic tribe, Northern France was subsequently conquered by the Romans. In 55 BC, Julius Caesar set sail to conquer England from Cap Blanc-Nez, a chalk and clay cliff that plunges 440 feet into the waves south of Calais. After the 5th-century defeat of the Romans, the region was incorporated into Neustria, one of the three territories that then made up France


Part of the plain of Flanders.

The Middle Ages saw a period of prosperity with the development of the cloth-making industry in the Flanders––the plain that continues into Belgium––and Artois. During the Hundred Years War, Calais capitulated to the English, who kept it for a century before it reverted to the French crown following a long siege in 1347. During the siege, six prominent citizens volunteered to be hanged in order to spare the people of Calais. The men were pardoned but their courage provided the inspiration for Rodin's magnificent 1895 sculpture of the six hostages that can be seen in one of Calais’ parks. The event prompted England’s Queen Mary Tudor to say, “After my death, you will find Calais written in my heart."





Theater for the 20th century Wars.

A century later, most of Northern France was ruled by the House of Burgundy, while Flanders was brought under Austrian Hapsburg control before becoming part of the Kingdom of Spain. The marriage of King Louis XIV to Maria-Theresa of Spain in 1659 brought Flanders to the French crown and the King annexed the other northern areas under the 1678 Treaty of Nijmegen. In 1913, the Treaty of Utrecht definitively established the borders of Northern France. Already the site of many battles in WWI, no area in Western Europe suffered more wounds from the Second World War than Nord-Pas de Calais, especially the city of Dunkirk ("Church of the Dunes" in Flemish).








Submitted by France.com on November 25, 2003 - 1:43pm.

http://web.france.com/Nord-Pas_de_Calais/history

13 February 2010

รับอิสลามเป็นมุสลิมได้อย่างไร?

จะรับอิสลามและเป็นมุสลิมได้อย่างไร?

ความหมายของคำว่า "มุสลิม" หมายถึงการที่บุคคลหนึ่งยอมจำนนต่อพระเจ้า ซึ่งไม่ว่าจะมีเชื้อชาติ สัญชาติ วัฒนธรรม หรือภาษาใดก็ตาม การที่จะเป็นมุสลิมนั้นเป็นสิ่งที่ง่ายและมีวิธีการที่ไม่ยุ่งยากและไม่มีอะไรซับซ้อน คนคนหนึ่งอาจจะรับอิสลามเพราะความพอใจโดยส่วนตัวของเขาหรืออาจจะเป็นเพราะได้รับอิทธิพลจากคนรอบข้างก็เป็นได้ใครที่มีความปรารถนาอย่างจริงจังเพื่อเป็นมุสลิม พร้อมทั้งมีสำนึกที่เต็มเปี่ยมและศรัทธาอย่างเชื่อมั่นว่าอิสลามเป็นศาสนาที่แท้จริงของพระผู้เป็นเจ้า สิ่งเดียวที่เขาต้องทำคือการกล่าวปฏิญานตนหรือที่เรียกว่า "ชะฮาดะฮฺ" นั่นคือถ้อยคำอันเป็นพยานแห่งการศรัทธา โดยไม่ต้องรีรอสิ่งใด "ชะฮาดะฮฺ" คือสิ่งแรกและเป็นประการสำคัญที่สุดในจำนวนหลักการอิสลามทั้งห้า
ด้วยการกล่าวปฎิญานตนหรือกล่าว "ชะฮาดะฮฺ" ในสภาพที่ศรัทธามั่นและสำนึกอย่างบริสุทธิ์ใจ คนผู้หนึ่งก็จะเข้าไปอยู่ในขอบเขตแห่งอิสลามและกลายเป็นมุสลิมโดยทันที

เมื่อเข้าอยู่ในอิสลามและเป็นมุสลิมด้วยความบริสุทธิ์ใจโดยหวังในความพอพระทัยของพระผู้เป็นเจ้าแล้ว บาปทั้งหมดที่ผ่านมาของคนผู้นั้นก็จะถูกอภัยให้แก่เขา และเขาจะได้เริ่มชีวิตใหม่ตามแบบฉบับแห่งความศรัทธาและคุณธรรมความดี ท่านศาสนทูตมุหัมมัด (ขออัลลอฮฺประทานความพรและสันติสุขแก่ท่าน) ได้กล่าวแก่คนผู้หนึ่งที่เข้ารับอิสลามกับท่านแล้ววางเงื่อนไขว่าต้องการให้พระผู้เป็นเจ้าอภัยโทษให้กับเขาทั้งหมด ท่านกล่าวแก่เขาว่า "ท่านไม่ทราบดอกหรือว่า การที่ท่านเข้ารับอิสลามนั้นจะลบล้างความผิดทั้งหมดที่ท่านกระทำก่อนหน้านี้ ?" (บันทึกโดยอิมาม มุสลิม)

เมื่อผู้ใดรับอิสลาม โดยสามัญสำนึกแล้วย่อมจะเสียใจในแนวทางและความเชื่อของชีวิตเขาก่อนหน้านี้ เขาไม่จำเป็นต้องแบกรับบาปต่างๆ ที่ผูกมัดเขาก่อนที่จะรับอิสลาม บันทึกชีวิตของเขาจะสะอาดหมดจดประหนึ่งเพิ่งคลอดออกจากท้องมารดาใหม่อีกครั้ง และควรอย่างยิ่งที่เขาจักต้องรักษาความสะอาดบริสุทธิ์นี้ไว้ตลอดไปเท่าที่มีความสามารถ พร้อมทั้งต้องมุ่งมั่นกระทำความดีให้มากที่สุดเท่าที่จะปฏิบัติได้
พระมหาคัมภีร์อัลกรุอานและวจนะของท่านศาสนทูตได้เน้นย้ำถึงความสำคัญของการตอบรับอิสลาม ดังที่พระผู้เป็นเจ้าได้ตรัสความว่า "แท้จริงศาสนา ณ อัลลอฮฺ(พระผู้เป็นเจ้า)นั้นคืออิสลาม" (อัลกรุอาน 3:19)
ในอีกโองการหนึ่งพระผู้เป็นเจ้าได้ตรัสความว่า "และผู้ใดแสวงหาศาสนาหนึ่งศาสนาใดอื่นจากอิสลามแล้ว ศาสนานั้นก็จะไม่ถูกรับจากเขาโดยเด็ดขาด และในปรโลกเขาจะอยู่ในหมู่ผู้ขาดทุน" (อัลกุรอาน 3:85)
ในถ้อยคำอื่น ท่านศาสนทูตมุหัมมัดได้กล่าวว่า "ผู้ใดที่ปฏิญาณว่าไม่มีพระเจ้าอื่นใดที่ต้องเคารพสักการะนอกจากอัลลอฮฺโดยไม่ตั้งภาคีใดๆ ต่อพระองค์ และปฏิญาณว่ามุหัมมัดนั้นเป็นบ่าวและศาสนทูตของพระองค์ และปฏิญาณว่าอีซา(เยซู)นั้นเป็นบ่าวของพระผู้เป็นเจ้า เป็นถ้อยคำของพระองค์ที่เป่าลงสู่มัรยัม(มาเรีย) (หมายถึงพระผู้เป็นเจ้าได้สร้างเยซูด้วยคำสั่งของพระองค์ว่า "จงเป็น") และเป็นวิญญาณที่พระองค์สร้างขึ้น พร้อมทั้งปฏิญาณว่าสวรรค์นั้นมีจริงและนรกนั้นมีจริง พระองค์จะทรงนำเขาสู่สวรรค์ตามแต่สภาพการปฏิบัติคุณความดีของเขาผู้นั้น" (บันทึกโดย อิมาม อัล-บุคอรีย์)
ท่านศาสนทูตยังได้กล่าวอีกว่า "แท้จริงแล้ว พระผู้เป็นเจ้าจะทรงห้ามไม่ให้เข้านรกแก่ผู้ที่ปฏิญาณว่าไม่มีพระเจ้าอื่นใดที่ต้องเคารพสักการะนอกจากอัลลอฮฺ โดยบริสุทธิ์ใจเพื่อพระพักตร์ของพระองค์" (บันทึกโดย อิมาม อัล-บุคอรีย์)


การกล่าวปฏิญาณหรือ "ชะฮาดะฮฺ"
บุคคลที่ต้องการรับอิสลามและเป็นมุสลิม จะต้องกล่าวคำปฏิญาณข้างล่างนี้ด้วยสำนึกที่จริงจังและเข้าใจในความหมายของมัน นั่นคือ
"อัชฮะดุ อัลลา อิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ, วะอัชฮะดุ อันนะ มุหัมมะดัร รอซูลลุลลอฮฺ"
ความหมายก็คือ "ฉันขอปฏิญาณว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดที่ต้องเคารพสักการะนอกจากอัลลอฮฺ และฉันขอปฏิญาณว่ามุหัมมัดนั้นเป็นศาสนทูตของอัลลอฮฺ"
เมื่อได้กล่าวปฏิญานตนด้วยความเชื่อมั่นเช่นนั้นแล้ว เขาก็จะกลายเป็นมุสลิม การกล่าวปฏิญาณสามารถกระทำด้วยตนเองเพียงลำพังได้ แต่มันจะดีกว่าถ้ากระทำโดยมีคนแนะนำผ่าน วรรคแรกของคำปฏิญานตนประกอบด้วยสัจธรรมอันสำคัญที่ว่า พระผู้เป็นเจ้าได้ประกาศแก่มนุษย์ว่า ไม่มีสิ่งใดที่คู่ควรและมีค่าแก่การสรรเสริญสักการะกราบไหว้ ยกเว้นพระผู้เป็นเจ้าซึ่งมีอำนาจเหนือทุกอย่าง พระองค์ได้ตรัสในมหาคัมภีร์อัลกุรอานความว่า "และเรา(พระผู้เป็นเจ้า)มิได้ส่งศาสนทูตคนใดก่อนหน้าเจ้า(มุหัมมัด) นอกจากเราได้ประทานวิวรณ์แก่เขาว่า แท้จริงไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากข้า ดังนั้นพวกเจ้าจงเคารพภักดีต่อข้า”












"การถือศีลอด"


การถือศีลอด(อัซเซาม์)


การถือศีลอด คือ การงดเว้นข้อห้ามต่างๆ ตามที่ศาสนาบัญญัติ เช่น งดการกิน การดื่ม นับตั้งแต่แสงอรุณขึ้น จนถึงตะวันตกก. ข้อบังคับ (ฟัรดู)

ในการถือศีลอด มี 4 ประการ
(1) เนียต (มีความตั้งใจในการถือศีลอด) ในเวลากลางคืนของทุกคืน กำหนดให้เนียตได้ระหว่างตั้งแต่ตะวันตกจนถึงแสงอรุณขึ้น การถือศีลอดของเด็กๆ นั้น ก็จำเป็น (วายิบ) ให้เนียตเช่นเดียวกัน แต่การถือศีลอดของเด็กนั้น ตกเป็นสุนัต การถือศีลอดสุนัตนั้น จะเนียตในเวลากลางวันก็ได้ แต่ต้องให้อยู่ระหว่างเวลานับแต่แสงอรุณขึ้น จนตะวันคล้อย ทั้งนี้ โดยยังมิได้ปฏิบัติการ ที่ทำให้เสียศีลอด การเนียตนั้น ให้เนียตดังนี้ "ข้าพเจ้าถือศีลอดวันพรุ่งนี้ ฟัรดูเดือนรอมฎอนปีนี้ เพื่ออัลลอฮฺ"


(2) งดเว้นการกิน การดื่ม และ การทำให้เสียศีลอด

(3) งดเว้นการประเวณี

(4) งดเว้นการอาเจียน โดยเจตนาข.


เหตุที่ทำให้เสียศีลอด มี 8 ประการ

(1) เจตนากินหรือดื่ม แม้แต่เล็กน้อย

(2) เจตนาร่วมประเวณี

(3) เจตนาอาเจียน

(4) เจตนาทำให้อสุจิเคลื่อนออก จะด้วยวิธีใดก็ตาม

(5) เสียสติ โดยเป็นบ้า เป็นลม หรือ สลบ

(6) เจตนาทำให้สิ่งใดล่วงล้ำภายในอวัยวะที่เป็นรู เช่น จมูก ปาก หู ทวารหนัก ทวารเบา

(7) มีประจำเดือน และ คลอดลูก

(8) ตกมุรตัดการเสียศีลอดด้วยเหตุดังกล่าว ต้องเป็นในเวลากลางวัน นับตั้งแต่แสงอรุณขึ้น จนตะวันตก และ มิได้ถูกบังคับ

ค. สุนัต (สิ่งที่ควรปฏิบัติ) ในการถือศีลอด

(1) ให้กินข้าวซู่ฮูร (อาหารดึก) หลังเที่ยงคืนแล้ว

(2) ให้ล่าช้าในการกินข้างซู่ฮูร คือ ให้ค่อนไปทางยามสาม

(3) ให้รีบแก้ศีลอด (บวช) เมื่อแน่ใจว่าตะวันตก

(4) ให้แก้ศีลอดด้วยผลอินทผาลัม ถ้าไม่มีให้แก้ด้วยน้ำ

(5) เมื่อละศีลอดแล้ว ให้อ่านดุอา

(6) เว้นจากการพูดหยาบคาย ชั่วช้าลามก เช่น นินทา พูดเท็จ ยุแหย่ และ เปรียบเปรย

(7) ให้อาบน้ำยุนุบ เฮด นี่ฟาส ก่อนแสงอรุณขึ้น (ถ้ามี)

(8) ให้พยายามทำอิบาดะฮฺมากๆ เช่น ละหมาดสุนัตต่างๆ อ่านอัลกุรอาน และ ซิเกร

(9) ให้แจกจ่ายอาหารแก่ผู้ถือศีลอด

(10) ให้อ่านคำเนียต

(11) ให้ละหมาดต้ารอวีฮฺ เป็นประจำทุกคืน ตลอดเดือน


ง. สิ่งไม่ควรปฏิบัติ (มักรุฮฺ) ในการถือศีลอด

(1) ล่าช้าในการละศีลอดเมื่อได้เวลา

(2) ทะเลาะหรือวิวาทกัน

(3) เคี้ยวสิ่งต่างๆ

(4) ชิมรสอาหาร หรือ อื่นใด

(5) กรอกเลือด

(6) ดมดอกไม้หรืออื่นใดที่มีกลิ่นหอม

(7) สีฟันหลังตะวันคล้อย

(8) เอาน้ำบ้วนปาก หรือ ใส่จมูกจนเกินควร

จ. จำเป็นต้องอดในส่วนเวลาของวันที่เหลือ (อิมซาก)


บุคคลที่จำเป็นต้องอดในส่วนเวลาของวันที่เหลืออยู่ (วายิบอิมซาก) มี 5 ประเภท

(1) บุคคลที่ทำให้เสียศีลอด

(2) บุคคลที่ลืมเนียตในเวลากลางคืน

(3) บุคคลที่กินข้างซู่ฮูร คิดว่ายังเป็นเวลากลางคืนอยู่ ปรากฏภายหลังว่า แสงอรุณขึ้นแล้ว

(4) บุคคลที่ละศีลอด คิดว่าตะวันตกแล้ว ปรากฏภายหลังว่าตะวันยังไม่ตก

(5) บุคคลที่ไม่ได้ถือศีลอดในวันสงสัย คือวันที่ 30 เดือนซะบาน ปรากฏภายหลังว่า เป็นเดือนรอมฎอน บุคคลดังกล่าวนี้ จำต้องอด งดการกิน การดื่ม และข้อห้ามต่างๆ ในส่วนของวันที่ยังเหลืออยู่ จนถึงเวลาละศีลอด เช่นเดียวกับผู้ที่ถือศีลอด กับต้องถือชดเชยในโอกาสต่อไปด้วย


อัลกุรอาน "What is Quran?"

Quran อัลกุรอาน





อัลกุรอาน มาจากรากศัพท์ในภาษาอาหรับแปลว่า การอ่าน หรือ การรวบรวม อัลลอหฺ (ซบ) ได้ทรงประทานคัมภีร์อัลกรุอานแก่ นบีมุฮัมมัด (ศ) ซึ่งเป็นศาสนทูตคนสุดท้าย และคัมภีร์นี้ก็เป็นคัมภีร์สุดท้ายที่พระผู้เป็นเจ้าได้ส่งมาให้แก่มวลมนุษยชาติ หลังจากนี้แล้วจะไม่มีคัมภีร์ใด ๆ จากพระผู้เป็นเจ้าอีก คัมภีร์กรุอานนี้ได้ประทานมาเพื่อยกเลิกคัมภีร์เก่า ๆ ที่เคยได้ทรงประทานมาในอดีตนั่นคือคัมภีร์เตารอต (Torah) ที่เคยทรงประทานมาแก่ศาสดามูซา คัมภีร์ศะบูร (Psalm) ที่เคยทรงประทานมาแก่ศาสดาดาวูด (David) และ คัมภีร์อินญีล (Evangelis) ที่เคยทรงประทานมาแก่ศาสดาอีซา (Jesus) เป็นคัมภีร์ที่บริบูรณ์ไม่มีการเพี้ยนเปลี่ยนแปลง ภาษาของอัลกุรอานนั้นคือภาษาอาหรับ ซึ่งเป็นภาษาของศาสดามุฮัมมัดนั่นเอง

การศรัทธาในคัมภีร์อัลกุรอานทั้งเล่มเป็นหลักการหนึ่งที่มุสลิมทุกคนต้องศรัทธา นั่นก็หมายความว่าหากไม่ศรัทธาในอัลกุรอาน หรือศรัทธาเพียงบางส่วนก็จะเป็นมุสลิมไม่ได้ เช่นเดียวกับที่ต้องศรัทธาว่าคัมภีร์อัลกุรอานที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้มีความบริบูรณ์ภายใต้การพิทักษ์ของอัลลอหฺพระผู้เป็นเจ้า ด้วยเหตุนี้จึงไม่มีการสังคายนาอัลกุรอานเลยตั้งแต่วันที่ท่านนบีชีวิตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ด้วยพระประสงค์ของอัลลอหฺภาษาอาหรับจึงเป็นภาษาโบราณภาษาเดียวที่มีชีวิตอยู่จนกระทั่งวันนี้ได้ และได้กลายเป็นภาษามาตรฐานของประเทศอาหรับทั้งหลาย เป็นภาษาวิชาการของอิสลาม และเป็นภาษาที่ใช้ในการปฏิบัติศาสนพิธีของมุสลิมทุกคนทั่วโลก

ในราวปี ค.ศ.๖๑๐ เมื่อมุฮัมมัดนั่งบำเพ็ญตนอยู่ในถ้ำบนยอดเขาฮิรออ์อย่างที่เคยทำเป็นประจำ ญิบรีลฑูตแห่งอัลลอหฺก็ปรากฏตนขึ้น และนำพระโองการจากพระผู้เป็นเจ้ามีความว่า
จงอ่านเถิด ด้วยพระนามแห่งผู้อภิบาล ผู้ทรงให้บังเกิด พระองค์ผู้ทรงให้มนุษย์เกิดมาจากเลือดก้อนหนึ่งจงอ่านเถิด และพระผู้อภิบาลของเธอนั้นคือผู้ทรงใจบุญยิ่ง ผู้ทรงสอนมนุษย์ด้วยปากกา ทรงสอนมนุษย์ในสิ่งที่เขาไม่รู้...(อัลอะลัก)

ตั้งแต่นั้นมา มุฮัมมัดก็ได้กลายเป็นศาสนฑูตของอัลลอหฺที่ต้องรับหน้าที่ประกาศศาสนาของอัลลอหฺ นั่นคือศาสนาอิสลาม ที่ตั้งอยู่บนหลักการไม่บูชาสิ่งอื่นใดนอกจากอัลลอหฺ การวิวรณ์ การรับสาส์น หรือโองการจากอัลลอหฺนั้นเรียกในภาษาอาหรับว่า วะฮีย์ ศาสดามุฮัมมัดได้รับวะฮีย์เป็นคราวๆทะยอยลงมาเรื่อยๆ จากวะฮีย์แรกถึงวะฮีย์สุดท้ายใช้เวลา ๒๓ ปี ทุกครั้งที่วะฮีย์ลงมา ท่านศาสนฑูตจะประกาศให้สาวกของท่านทราบ เพื่อจะได้ไปประกาศให้คนอื่นทราบอีกต่อไป สาวกจะพยายามท่องจำวะฮีย์ที่ลงมานั้นจนขึ้นใจ และท่านศาสดาจะสั่งให้อาลักษณ์ของท่านบันทึกลงในสมุดที่ทำด้วยหนังสัตว์ กระดูก หรือสิ่งอื่นๆ
ที่สามารถเก็บรักษาไว้ได

อิสลามกับจุดหมายของชีวิต Islam for life

อิสลามกับจุดหมายของการมีชีวิต



ถ้าหากเราถามว่ามนุษย์เกิดมาทำไม? เพื่อตอบคำถามนี้ อัลลอฮฺได้บอกเราในอัลกุรอานว่า

وَمَا خَلَقْتُ الْجِنَّ وَالإِنسَ إِلاَّ لِيَعْبُدُونِ (سورة الذاريات: 56)



“และข้า (อัลลอฮฺ) มิได้ให้บังเกิดมวลญินและมนุษย์มาเพื่อการใด เว้นแต่เพื่อให้พวกเขาอิบาดะฮฺ (ทำหน้าที่เป็นบ่าว) ต่อข้า” (อัลกุรอาน สูเราะฮฺ อัซ-ซาริยาต: 56)
โองการอัลกุรอานบทนี้ได้ชี้ให้เห็นว่า จุดประสงค์ของการมีชีวิตของมนุษย์คือ เพื่อทำความเคารพภักดีต่อพระผู้เป็นเจ้า


มนุษย์ทุกคนต่างก็ต้องการคำตอบต่อข้อซักถามนี้ แต่เราพบว่าคำตอบที่อัลกุรอานได้บอกเราเป็นคำตอบที่สมเหตุสมผลที่สุด เพราะถ้าหากไม่เชื่อในพระเจ้าแล้ว มนุษย์ก็ไม่มีค่าอะไรในการใช้ชีวิตบนโลกนี้ พวกเขาจะเป็นเหมือนสัตว์อื่นๆที่รู้จักเพียงการกินการดื่มขับถ่ายและสืบพันธุ์

มนุษย์ทุกคนล้วนเชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติ พวกเขาจึงมีสิ่งกราบไหว้ต่างๆ นานาแตกต่างกันไป แต่การเชื่อในพระผู้เป็นเจ้าหรือที่มุสลิมเรียกว่า “อัลลอฮฺ” คือการเชื่อต่อศูนย์รวมพลังอำนาจทั้งหมดในจักรวาล
อัลลอฮฺได้บอกว่า พระองค์กำหนดให้มนุษย์ต้องใช้ชีวิตบนโลกนี้เพื่อทดสอบพวกเขา และในที่สุดพวกเขาก็จะกลับไปหาพระองค์ในโลกหน้าเพื่อรับผลตอบแทนจากกระทำและการปฏิบัติตนของพวกเขาบนโลกนี้ ดังนั้นความจริงแล้วโลกนี้จึงเป็นเพียงสถานที่ชั่วคราวเท่านั้น แต่โลกหน้าต่างหากที่เป็นจุดหมายการเดินทางของมนุษย์ พระองค์ได้ตรัสว่า
وَمَا هَذِهِ الْحَيَاةُ الدُّنْيَا إِلاَّ لَهْوٌ وَلَعِبٌ وَإِنَّ الدَّارَ الآخِرَةَ لَهِيَ الْحَيَوَانُ (سورة العنكبوت: 64)




“และชีวิตโลกนี้มิได้เป็นสิ่งใด นอกเสียจากเพียงการรื่นเริงและการละเล่นเท่านั้น และแท้จริงแล้ว โลกหน้าต่างหากคือชีวิตอันสถาพร” (อัลกุรอาน สูเราะฮฺ อัล-อันกะบูต: 64)
มนุษย์จึงต้องใช้ชีวิตบนโลกนี้ตามครรลองของพระผู้เป็นเจ้า เพราะคำสอนของพระองค์เป็นเส้นทางที่เที่ยงตรง อัลลอฮฺได้ตรัสไว้ว่า
وَأَنَّ هَـذَا صِرَاطِي مُسْتَقِيماً فَاتَّبِعُوهُ وَلاَ تَتَّبِعُواْ السُّبُلَ فَتَفَرَّقَ بِكُمْ عَن سَبِيلِهِ (سورة الأنعام: 153)



“และนี่คือเส้นทางของข้าที่เที่ยงตรง ดังนั้นสูเจ้าจงตามมันเถิด และอย่าได้ตามเส้นทางอื่น เพราะมันจะทำให้สูเจ้าแตกออกไปจากเส้นทาง (อันเที่ยงตรง) นั้น” (อัล-กุรอาน สูเราะฮฺ อัล-อันอาม: 153)
การปฏิบัติตามคำสอนของพระผู้เป็นเจ้าจะทำให้มนุษย์ได้รับความสุขความสำเร็จทั้งในโลกนี้และโลกหน้า เช่นที่อัลลอฮฺได้ตรัสไว้มีว่า
مَنْ عَمِلَ صَالِحاً مِّن ذَكَرٍ أَوْ أُنثَى وَهُوَ مُؤْمِنٌ فَلَنُحْيِيَنَّهُ حَيَاةً طَيِّبَةً وَلَنَجْزِيَنَّهُمْ أَجْرَهُم بِأَحْسَنِ مَا كَانُواْ يَعْمَلُونَ (سورة النحل: 97)
“ผู้ใดที่ปฏิบัติความดีทั้งผู้ชายหรือผู้หญิงโดยที่เขาเป็นผู้ศรัทธาแล้วไซร้ แน่แท้เราจะให้เขามีชีวิตที่ดี และเราจะตอบแทนพวกเขาด้วยสิ่งที่ดีที่สุดตามการปฏิบัติความดีของพวกเขา” (อัลกุรอาน สูเราะฮฺ อัน-นะหฺลิ: 97)



- ข้อคิดที่ได้รับ


1. มนุษย์ไม่มีคุณค่าใดๆ ในชีวิตถ้าหากไม่รู้จักตัวเองและไม่รู้จักพระเจ้า
2. มนุษย์ทุกคนเชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติ
3. พระผู้เป็นเจ้า หรือที่มุสลิมเรียกว่า อัลลอฮฺ คือศูนย์รวมอำนาจทั้งหลายทั้งปวงในเอกภพ
4. อิสลามมีเหตุผลที่ชัดเจนเกี่ยวกับการใช้ชีวิตของมนุษย์บนโลก
5. เป้าหมายที่อัลลอฮฺสร้างมนุษย์ขึ้นมาก็คือ เพื่อให้พวกเขาแสดงความเคารพภักดีต่อพระองค์
6. อัลลอฮฺได้กำหนดอีกโลกหนึ่งข้างหน้า เพื่อให้มนุษย์ได้ใช้ชีวิตอยู่อย่างถาวร โลกนี้เป็นเพียงแค่ทางผ่านสู่โลกหน้าเท่านั้น
7. การดำเนินชีวิตของมนุษย์ตามกรอบวิถีของพระผู้เป็นเจ้าคือสาเหตุแห่งการเกิดสันติสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า



- คำถาม
1. ท่านคิดว่าอะไรที่ทำให้ตัวเองรู้สึกว่ามีคุณค่าในการมีชีวิตเป็นมนุษย์?
2. ท่านคิดว่าถ้ามนุษย์ไม่เชื่อในพระเจ้าแล้ว พวกเขาจะใช้ชีวิตอย่างไร?
3. ท่านคิดว่าตัวเองมีความต้องการที่จะใช้ชีวิตอย่างมีความสุขและมีคุณค่าหรือไม่? และต้องทำอย่างไร?

"การขอวีซ่าประเทศตุรกี" ( Visa Turkey)


VISA TURKEY


การขอวีซ่าประเทศตุรกี

สถานทูตตุรกี เลขที่ 61/1 ซอยจัดสรร ถนนสุทธิสาร กรุงเทพฯ โทร. 0-2274-7262-3

เอกสารประกอบการขอวีซ่าตุรกี (สำหรับ หนังสือเดินทางสัญชาติไทย)

1) กรอกแบบฟอร์มการขอวีซ่าให้ครบถ้วน
2) หนังสือเดินทางตัวจริงที่มีอายุเหลือมากกว่า 6 เดือนขึ้นไป มีหน้าวีซ่าเหลือว่างมากกว่า 2 หน้า3) รูปถ่ายปัจจุบัน เป็นรูปสีขนาด 2 นิ้ว จำนวน 2 รูป ฉากด้านหลังเป็นสีขาวเท่านั้น
4) หนังสือรับรองการทำงานเป็นภาษาอังกฤษ

5) หนังสือเชิญจากทางบริษัทที่ตุรกี กรณียื่นวีซ่าธุรกิจ
6) สำเนาบัตรประชาชน
7) สำเนาทะเบียนบ้าน8) หนังสือรับรองการเงินจากธนาคาร

9) ใบจองตั๋วเครื่องบิน10) ใบจองโรงแรมที่พักระหว่างที่พำนักอยู่ในประเทศตุรกี
11) ค่าธรรมเนียม 1,550.- บาทต่อท่าน (สำหรับวีซ่า เข้า – ออก 1 ครั้ง)12) ค่าธรรมเนียม 5,000.- บาทต่อท่าน (สำหรับวีซ่า เข้า – ออก หลายครั้ง)




"Passport หนังสือเดินทางธรรมดา"

Passport
หนังสือเดินทางธรรมดา





บุคคลบรรลุนิติภาวะ

- เอกสารประกอบการทำหนังสือเดินทางธรรมดาของบุคคลบรรลุนิติภาวะ
- ค่าธรรมเนียม

ผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี

- ระเบียบการขอหนังสือเดินทางของผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี
- เอกสารประกอบการทำหนังสือเดินทางธรรมดาของผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี
- ค่าธรรมเนียม


ผู้เยาว์อายุระหว่าง 15 ปีขึ้นไปแต่ยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์

- ระเบียบการขอหนังสือเดินทางของผู้เยาว์อายุระหว่าง 15 ปีขึ้นไปแต่ยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์
- เอกสารประกอบการทำหนังสือเดินทางธรรมดาของผู้เยาว์อายุระหว่าง 15 ปีขึ้นไป
แต่ยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์


ค่าธรรมเนียม

ข้อควรปฏิบัติในวันมายื่นคำร้อง


- โปรดนำเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องมาแสดงให้ครบถ้วน โดยเฉพาะการยื่นคำร้องกรณีผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี และ ผู้เยาว์อายุ 15 ปีขึ้นไปแต่ยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ ทั้งนี้ หากเอกสารที่นำมาแสดงไม่ครบถ้วน ท่านจะต้องนำเอกสารดังกล่าวมาแสดงเพิ่มเติมในวันรับเล่ม ซึ่งจะทำให้การรับเล่มล่าช้า เนื่องจากต้องใช้เวลาในการบันทึกข้อมูลเอกสารที่นำมาแสดงเพิ่มเติมลงในระบบให้ครบถ้วน


ขั้นตอนการยื่นขอหนังสือเดินทางใหม่

1. รับบัตรคิว
2. ยื่นบัตรประจำตัวประชาชนที่มีเลข 13 หลัก(หากไม่มีเลข 13 หลัก ต้องนำสำเนาทะเบียนบ้านมาแสดง) พร้อมเอกสารหลักฐานอื่น ๆที่จำเป็น อาทิ หากเปลี่ยนชื่อสกุล ต้องมีหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ นามสกุล ทะเบียนสมรส ฯลฯ มาแสดง เพื่อตรวจสอบข้อมูล
- ข้อมูลชีวภาพ (วัดส่วนสูง เก็บลายพิมพ์นิ้วมือนิ้วชี้ซ้ายและนิ้วชี้ขวาด้วยเครื่องสแกนเนอร์ และถ่ายรูปใบหน้า )
- แจ้งความประสงค์หากต้องการขอรับเล่มทางไปรษณีย์

3. ชำระค่าธรรมเนียม 1,000 บาท (และค่าส่งไปรษณีย์ 35 บาทหากประสงค์ให้จัดส่งทางไปรษณีย์) รับใบเสร็จรับเงิน และรับใบนัดรับเล่ม


ท่านจะได้รับหนังสือเดินทาง ดังนี้


• หากยื่นที่กรมการกงสุล ผู้ร้องสามารถรับหนังสือเดินทางได้ 2 วันทำการไม่นับวันยื่นคำร้อง หากรับทางไปรษณีย์จะได้รับใน 5 วันทำการ
• หากยื่นที่สำนักงานสาขาในกรุงเทพฯ (ปิ่นเกล้าและบางนา) ผู้ร้องจะได้รับเล่มภายใน 2 วันทำการไม่นับวันยื่นคำร้อง หากรับทางไปรษณีย์จะได้รับใน 5 วันทำการ
• กรณียื่นคำร้องที่สำนักงานสาขาในต่างจังหวัดและขอให้จัดส่งทางไปรษณีย์ผู้ร้อง (ในเขตเมือง) จะได้รับหนังสือเดินทางภายใน 5 วันทำการ
• โดยที่กระทรวงฯ ได้ติดตั้งเครื่องอ่านหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์จำลองเพื่อผู้ร้องสามารถทดสอบการผ่านเข้า-ออกท่าอากาศยานโดยอัตโนมัติไว้ 1 เครื่อง ที่กรมการกงสุล ดังนั้นจึงแนะนำให้ผู้ขอหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์มารับเล่มด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้ถือหนังสือเดินทางมีความคุ้นเคยกับการใช้หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์และระบบตรวจคนเข้าเมืองอัตโนมัติ
• ในกรณีจำเป็น สามารถมอบอำนาจให้ผู้อื่นรับแทนหรือให้จัดส่งทางไปรษณีย์ (EMS)

บุคคลบรรลุนิติภาวะ

• เอกสารประกอบการขอหนังสือเดินทางธรรมดาของบุคคลบรรลุนิติภาวะ
- บัตรประจำตัวประชาชนที่ยังมีอายุใช้งาน หรือ บัตรข้าราชการ หรือ บัตรประจำตัวที่ใช้แทนตามกฎกระทรวงมหาดไทยฉบับจริง (ในกรณีที่เป็นบัตรข้าราชการให้นำสำเนาทะเบียนบ้านมาด้วย)
- หากมีรายการแก้ไขชื่อสกุล หรือวันเดือนปีเกิด ฯลฯ ซึ่งไม่ตรงกับบัตรประชาชนให้นำหลักฐานการแก้ไขที่เกี่ยวข้องมาแสดงด้วย
• ค่าธรรมเนียม
- การทำหนังสือเดินทางใหม่เสียค่าธรรมเนียม 1,000 บาท



ผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี

ระเบียบการขอหนังสือเดินทางของผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี


- ผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี ต้องนำสูติบัตรฉบับจริง หากเป็นสำเนาต้องได้รับการรับรองสำเนาถูกต้องจาก อำเภอ/เขตมาแสดงพร้อมผู้มีอำนาจปกครอง หากผู้มีอำนาจปกครองไม่สามารถมาดำเนินการได้ สามารถมอบอำนาจให้ผู้อื่นมาดำเนินการแทนได้โดยต้องมีหนังสือมอบอำนาจและหนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์เดินทางไปต่างประเทศพร้อมทั้งบัตรประจำตัวประชาชนของบิดามารดาและ/หรือผู้มีอำนาจปกครองฉบับจริงมาแสดง ทั้งนี้หนังสือมอบอำนาจและหนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์เดินทางไปต่างประเทศต้องผ่านการรับรองจากอำเภอ/เขต

เอกสารประกอบการขอหนังสือเดินทางธรรมดาของผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี

- สูติบัตรฉบับจริง หากเป็นสำเนาสูติบัตรต้องได้รับการรับรองจากอำเภอ/เขต
- บิดาและมารดา หรือผู้มีอำนาจปกครองนำบัตรประชาชนฉบับจริงมาลงนามต่อหน้าเจ้าหน้าที่
บัตรประจำตัวประชาชนที่ยังมีอายุใช้งาน หรือ บัตรที่ใช้แทนได้ตามกฎกระทรวงมหาดไทย ของบิดา มารดา หรือผู้มีอำนาจปกครองฉบับจริง หากชื่อนามสกุลบิดา มารดาในสูติบัตรไม่ตรงกับบัตรประจำตัวประชาชน ให้นำหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ หรือ นามสกุลที่เป็นต้นฉบับมาแสดงด้วย ในกรณีที่มารดาหย่า และจดทะเบียนสมรสใหม่ และใช้นามสกุลใหม่ตามสามีให้นำหลักฐานการหย่าและการสมรสที่เป็นต้นฉบับมาแสดงด้วย
- หนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์เดินทางไปต่างประเทศและบัตรประจำตัวประชาชนฉบับจริงของบิดามารดาที่ไม่มา ในกรณีที่บิดา/มารดาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่สามารถมาแสดงตัวได้
**หนังสือยินยอมของบิดา/มารดา ต้องผ่านการรับรองจากอำเภอ/เขต (ผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี ต้องมีบิดาหรือมารดา คนใดคนหนึ่งมาแสดงตัวให้ความยินยอม)
- เอกสารอื่น ๆ ที่จำเป็น อาทิ หลักฐานใบเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนนามสกุล เอกสารหลักฐานการรับรอง บุตรหรือรับบุตรบุญธรรม บันทึกการหย่า ซึ่งมีข้อความระบุให้บุตรอยู่ในความดูแลของบิดา หรือมารดา เป็นต้น
- กรณีบิดา มารดาผู้เยาว์เสียชีวิต / บิดาหรือมารดาผู้เยาว์เป็นชาวต่างชาติมิได้จดทะเบียนสมรสและ ไม่สามารถตามหาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมาให้ความยินยอมได้ /บิดามารดามิได้จดทะเบียนสมรสแต่บุตรอยู่ในความดูแลของบิดาฝ่ายเดียวมาตลอด และไม่สามารถตามหามารดาได้ ให้นำคำสั่งศาลซึ่งระบุชื่อผู้มีอำนาจปกครอง พร้อมบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจปกครองมาแสดง


ค่าธรรมเนียม

- การทำหนังสือเดินทางใหม่เสียค่าธรรมเนียม 1,000 บาท
- ผู้เยาว์อายุ 15 ปีขึ้นไปแต่ยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์
- ระเบียบการขอหนังสือเดินทางของผู้เยาว์อายุ 15 ปีขึ้นไปแต่ยังไม่ครบ 20 ปี บริบูรณ์


ผู้เยาว์อายุระหว่าง 15 ปีขึ้นไปแต่ยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์


- ผู้เยาว์ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปแต่ยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ ที่ทำบัตรประชาชนแล้วสามารถติดต่อขอทำ หนังสือเดินทางด้วยตนเอง โดยมีหนังสือยินยอมของบิดาและมารดา หรือ ผู้มีอำนาจปกครองที่ยินยอมให้ผู้เยาว์เดินทางไปต่างประเทศที่ผ่านการรับรองจากอำเภอ/เขตมาแสดงประกอบการยื่นคำร้อง หากไม่มีหนังสือยินยอม บิดาและมารดาหรือผู้มีอำนาจปกครองผู้เยาว์ต้องมาลงนามต่อหน้าเจ้าหน้าที่ในวันที่ยื่นคำร้อง (หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมาไม่ได้ ให้มาลงนามในวันรับเล่ม) หรือ มีหนังสือยินยอม จากฝ่ายที่มาไม่ได้มาแสดง เอกสารที่นำมายื่นขอหนังสือเดินทางต้องเป็นต้นฉบับหากเป็นสำเนาต้องผ่านการรับรองสำเนาถูกต้อง จากหน่วยงานที่ออกเอกสารดังกล่าวเท่านั้น


เอกสารประกอบการขอหนังสือเดินทางธรรมดาของผู้เยาว์ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป (แต่ยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์)


- บัตรประจำตัวประชาชนที่ยังมีอายุใช้งาน หรือ บัตรประจำตัวที่ใช้แทนตามกฎกระทรวง มหาดไทย
- หนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์เดินทางไปต่างประเทศที่ผ่านการรับรองจากอำเภอ/เขต และบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ปกครอง พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง
- เอกสารอื่น ๆ ที่จำเป็น อาทิ หลักฐานใบเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนนามสกุล เอกสารหลักฐานการรับรองบุตรหรือรับบุตรบุญธรรมใบ
สำคัญการสมรส ทะเบียนสมรส ทะเบียนหย่า ทะเบียนบ้าน คำสั่งศาลกรณีระบุผู้มีอำนาจปกครองแทนบิดามารดา เป็นต้น

ค่าธรรมเนียม

- การทำหนังสือเดินทางเสียค่าธรรมเนียม 1,000 บาท

ความหมายของผู้มีอำนาจปกครอง

- กรณีบิดาและมารดาจดทะเบียนสมรสบิดาและมารดาต้องมาลงนาม(ต่อหน้าเจ้าหน้าที่)ในคำร้องขอหนังสือเดินทางทั้งสองฝ่ายหากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่สะดวกมาลงนามในวันที่ผู้เยาว์ยื่นคำร้องให้มาลงนามในวันรับเล่มได้ หรือทำหนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์เดินทางไปต่างประเทศ ผ่านอำเภอ/เขต พร้อมบัตรประชาชนที่มีอายุใช้งานบิดา มารดาตัวจริง

- กรณีที่ผู้มีอำนาจปกครองอยู่ในต่างประเทศ ให้ทำหนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์เดินทางไปต่างประเทศ ผ่านสถานเอกอัครราชทูต หรือสถานกงสุลไทยในประเทศที่พำนักอยู่ หากผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี และผู้ปกครองไม่สามารถมาดำเนินการด้วยตนเองและประสงค์จะมอบอำนาจให้ผู้อื่นมาดำเนินการแทน ต้องมีหนังสือมอบอำนาจ และหนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์เดินทางไปต่างประเทศ โดยหนังสือทั้ง 2 ฉบับ ต้องผ่านการรับรองจาก สอท./สกญ. (สถานทูต/สถานกงสุล) กรณีบิดามารดาหย่าตามกฎหมาย ให้ผู้มีอำนาจปกครองผู้เยาว์ตามที่ระบุในบันทึกการหย่าเป็นผู้ลงนามพร้อมแสดงทะเบียนหย่า และบันทึกการหย่า


- ผู้เยาว์ที่เกิดจากบิดามารดาไม่ได้จดทะเบียนสมรส มารดาสามารถลงนามได้ฝ่ายเดียว โดยให้ทำ บันทึกคำให้การจากอำเภอ/เขตยืนยันว่าไม่ได้จดทะเบียนสมรสพร้อมแสดงหลักฐานบัตรประจำตัวประชาชนที่มีอายุใช้งานเป็น “นางสาว” ต่อเจ้าหน้าที่รับคำร้อง

- มารดาผู้เยาว์ที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสแต่ใช้คำนำหน้า “นาง” สามารถลงนามได้ฝ่ายเดียว โดย นำหนังสือรับรองการอุปการะบุตรแต่เพียงผู้เดียวจากอำเภอ/เขต มาแสดง

- ผู้เยาว์เกิดจากบิดามารดาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน มารดาต้องมาลงนามให้ความยินยอม บิดา ไม่สามารถลงนามยินยอมให้ผู้เยาว์เพียงฝ่ายเดียวได้ เว้นแต่ว่ามีคำสั่งศาลมาแสดงว่าศาลให้บิดาเป็นผู้อุปการะผู้เยาว์แต่ผู้เดียว

- บิดามารดาผู้ให้กำเนิดผู้เยาว์ที่ได้ยกผู้เยาว์ให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นแล้ว ไม่สามารถลงนาม แทนบิดามารดาบุญธรรมได้ต้องให้บิดา มารดาบุญธรรมเป็นผู้ลงนาม
- เอกสารที่นำมายื่นขอหนังสือเดินทางต้องเป็นต้นฉบับหากเป็นสำเนาต้องได้รับการรับรองสำเนา ถูกต้องจากหน่วยงานที่ออกเอกสารดังกล่าวเท่านั้น


ข้อควรปฏิบัติในวันมายื่นคำร้อง

- กรณีบิดาและมารดาจดทะเบียนสมรส บิดาและมารดาต้องมาลงนาม(ต่อหน้าเจ้าหน้าที่)ในคำร้องขอหนังสือเดินทางทั้งสองฝ่าย หากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่สะดวกมาลงนามในวันที่ผู้เยาว์ยื่นคำร้อง ให้มาลงนามในวันรับเล่มได้ หรือทำหนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์เดินทางไปต่างประเทศ ผ่านอำเภอ/เขต พร้อมบัตรประชาชนที่มีอายุใช้งานบิดา มารดาตัวจริง



กรมการกงสุล สถานที่ให้บริการหนังสือเดินทาง
กรมการกงสุล แจ้งวัฒนะ


- ที่อยู่ 123 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
- โทรศัพท์ 0-2981-7171-99 โทรสาร 0-2981-7256

สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว บางนา
- ที่อยู่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลซิตี้บางนา อาคาร "บางนาฮอลล์"(ด้านข้างศูนย์การค้า) ชั้น B1
- โทรศัพท์ 0-2383-8401-3 โทรสาร 0-2383-8398

สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว ปิ่นเกล้า
- ที่อยู่ อาคารธนาลงกรณ์ทาวเวอร์(ชั้นใต้ดิน) แขวงบางบำหรุ เขตบางพลัด กทม. 10700
- โทรศัพท์ 0-2446-8111-2 โทรสาร 0-2446-8118-9

สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดขอนแก่น
- ที่อยู่ ศูนย์ราชการจังหวัดขอนแก่น ถนนศูนย์ราชการ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000
- โทรศัพท์ 0-4324-2707, 0-4324-3462, 0-4324-2655 โทรสาร 0-4324-3441

สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดเชียงใหม่
- ที่อยู่ ศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ ถนนโชตนา ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50000
- โทรศัพท์ 0-5389-1535-6 โทรสาร 0-5389-1534
สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดสงขลา
- ที่อยู่ ศูนย์ราชการจังหวัดสงขลา อำเภอเมือง จ.สงขลา 90000
- โทรศัพท์ 074-326508-10 โทรสาร 074-326511

สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดอุบลราชธานี
- ที่อยู่ อาคารสำนักงานองค์การบริหารส่วนจังหวัด อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000
- โทรศัพท์ 045-242313-4 โทรสาร 045-242301
- E-mail : passport_ub@hotmail.com

สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- ที่อยู่ ศาลาประชาคม ถนนหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000
- โทรศัพท์ 077-274940, 077-274942-3 โทรสาร 077-274941

สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดนครราชสีมา
- ที่อยู่ ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา ถนนมหาดไทย อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000
- โทร 044-243-132, 044-243-124 โทรสาร 044-243-133

สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดอุดรธานี
- ที่อยู่ ศูนย์อเนกประสงค์ ศาลากลางจังหวัดอุดรธานี(ตรงข้ามกับศาลหลักเมือง) ถนนอธิบดี อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000
- โทร 042-212827, 042-212-318 โทรสาร 042-222-810

สำนักงานหนังสือเดินทางชัวคราว จังหวัดพิษณุโลก
- ที่อยู่ ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ถนนเทพารักษ์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
- โทร 055-258-173, 055-258-155, 055-258-131, โทรสาร 055-258-117

สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดยะลา
- ที่อยู่ ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ถนนสุขยางค์ อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000
- หมายเลขโทรศัพท์ 073-274-526, 073-274-036, 073-274-037 โทรสาร 073-274-527

สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว ภูเก็ต
- ที่อยู่ ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต ถนนนริศร อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000
- หมายเลขโทรศัพท์ 076-222-083, 076-222-080, 076-222-081 โทรสาร 076-222-082











ที่มา: http://www.consular.go.th/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=63

E- passport คืออะไร?

E-Passport

หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์




หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-passport) คืออะไร?


- E-passport เป็นหนังสือเดินทางที่มีคุณลักษณะเฉพาะทางเทคนิค ตามข้อกำหนดขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) ซึ่งแตกต่างจากหนังสือเดินทางแบบเดิม ดังนี้


มีการบันทึกข้อมูลชีวภาพ (biometric data) ได้แก่ รูปใบหน้า และ/หรือ ลายนิ้วมือ และ/หรือ ม่านตา
ไว้ใน Contactless Integrated Circuit ซึ่งฝังอยู่ในเล่มหนังสือเดินทาง มีการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อการตรวจสอบความถูกต้องแท้จริงของหน้งสือเดินทาง
หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ดีกว่าหนังสือเดินทางแบบเดิมอย่างไร

1. สามารถป้องกันการปลอมแปลงได้สูง เป็นมาตรการสำคัญในการสกัดกั้นขบวนการก่อการร้ายข้ามชาติ การลักลอบเข้าเมือง ฯลฯ

2. สามารถตรวจสอบเพื่อพิสูจน์ตัวบุคคลได้แม่นยำและรวดเร็ว อำนวยความสะดวกต่อการเดินทาง การเข้าเมือง และส่งเสริมการท่องเที่ยว

3. เสริมสร้างภาพลักษณ์ของประเทศ ทำให้หนังสือเดินทางไทยมีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับในระดับสากลยิ่งขึ้น ส่งผลต่อเนื่องทางบวกด้านเศรษฐกิจการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยวของประเทศ



กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศได้นำระบบหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Passport) มาใช้ตั้งแต่เดือน สิงหาคม 2548 สำหรับหนังสือเดินทางในระบบเก่า ที่ออกให้ก่อน สิงหาคม 2548 ยังคงใช้ได้ จนวันสิ้นอายุที่ปรากฏในเล่มหนังสือเดินทาง แต่จะไม่สามารถต่ออายุได้อีก











ที่มา:

http://www.consular.go.th/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=63

E- Passport



E-Passport

หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์




หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-passport) คืออะไร?


- E-passport เป็นหนังสือเดินทางที่มีคุณลักษณะเฉพาะทางเทคนิค ตามข้อกำหนดขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) ซึ่งแตกต่างจากหนังสือเดินทางแบบเดิม ดังนี้


มีการบันทึกข้อมูลชีวภาพ (biometric data) ได้แก่ รูปใบหน้า และ/หรือ ลายนิ้วมือ และ/หรือ ม่านตา
ไว้ใน Contactless Integrated Circuit ซึ่งฝังอยู่ในเล่มหนังสือเดินทาง มีการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อการตรวจสอบความถูกต้องแท้จริงของหน้งสือเดินทาง
หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ดีกว่าหนังสือเดินทางแบบเดิมอย่างไร



1. สามารถป้องกันการปลอมแปลงได้สูง เป็นมาตรการสำคัญในการสกัดกั้นขบวนการก่อการร้ายข้ามชาติ การลักลอบเข้าเมือง ฯลฯ


2. สามารถตรวจสอบเพื่อพิสูจน์ตัวบุคคลได้แม่นยำและรวดเร็ว อำนวยความสะดวกต่อการเดินทาง การเข้าเมือง และส่งเสริมการท่องเที่ยว


3. เสริมสร้างภาพลักษณ์ของประเทศ ทำให้หนังสือเดินทางไทยมีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับในระดับสากลยิ่งขึ้น ส่งผลต่อเนื่องทางบวกด้านเศรษฐกิจการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยวของประเทศ


กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศได้นำระบบหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Passport) มาใช้ตั้งแต่เดือน สิงหาคม 2548 สำหรับหนังสือเดินทางในระบบเก่า ที่ออกให้ก่อน สิงหาคม 2548 ยังคงใช้ได้ จนวันสิ้นอายุที่ปรากฏในเล่มหนังสือเดินทาง แต่จะไม่สามารถต่ออายุได้อีก





ที่มา: http://www.consular.go.th/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=63















7 February 2010

Dos and don'ts in Thailand



- Loud voices, calling attention to yourself, pointing at people or things, throwing or dropping things, and making big hand gestures all seem graceless to the Thai sensibility. Preferred modes of comportment are those that reflect the quiet, subtle and indirect as opposed to the loud, obvious and direct. Although the southern Thai can at times be alarmingly direct in their interactions with others.


- The monarchy remains highly respected throughout Thailand and visitors to the country must be respectful also. Avoid disparaging remarks or jokes about the royal family; they will not be appreciated. All Thai people love their king, HM King Bhumibol; if you want to know why, ask them politely.



- Public displays of sexual affection are not acceptable in Thailand, although this may be changing with the younger generation in some areas. Thai people are extremely offended by public nudity, along with just about everyone else in the world. Thai people are modest in this respect and it should not be the visitor’s intention to ‘reform’ them. A polite man in Thailand will not touch a woman.



- The feet in Thailand are considered spiritually as well as physically the lowest part of the body. Don’t step over people’s legs, even in a crowded place such as on a train; wait politely for them to move out of the way. Do not point things out or pick things up with your feet. And do not wave your feet around people's heads! If you accidentally touch someone with your foot, apologise. Food in Thailand is often eaten on the floor. Stepping over food is a real faux pas.


- Shoes are not worn inside people’s houses, or in some guest houses and shops. If you are not sure watch other people. A pile of shoes at the entrance is your clue to remove yours (socks are OK). To Thai people wearing shoes indoors is disgusting.


- Show respect for religious symbols and rituals, and avoid touching spirit houses and household alters. Thai people, particularly those in rural areas, can be highly superstitious and may feel the need for lengthy ritual should you ‘contaminate’ their sacred areas.


- Ladies must never touch a Buddhist monk (recognised by his orange robes) or hand things directly to him. Remember always that every monk is looked up to and respected (even if he is a child). Women should never be alone in the presence of a monk. But don't think that a monk is unapproachable. Polite conversation is quite acceptable, and if you are driving a car feel free to pick up any monk waiting for a lift.



- It is an unpardonable error of sacrilege to misuse a Buddha image. Icons should be kept in a place of worship, not used as pieces of furniture, as ornaments, or for commercial advertisement. It is fine though to hang a Buddha from your neck. Many Thai people do so for protection and to attract good luck.


Do not stare at Thai people. They may be smiling, but still do not look into their eyes too long. Particularly in rural areas young and old may react violently to such a gesture, which is considered a rude insult. During normal conversation most Thai people do not look directly at one another, and will avoid anything but the briefest eye-to-eye contact. Phu Nawy (‘little’ people) often keep their head bowed when conversing with Phu Yai (‘big’ people) as a sign of respect. As a foreigner it can be hard to know if you have a person’s attention. And it is difficult to hear what people are saying if they speak with their back to you.





Festivals of Thailand


Festivals of Thailand


Coronation day




- 05 May: A publich holiday, commemorating the 1950 coronation of HK King Bhumibol Adulayedej.

Loy Kratong







- November: When it is full moon in November, one of Thailand's most beautiful festivals, Loi Krathong, is celebrated nationwide. Thousands of candle-lit floats, decorated with flowers, are cast into any available stretch of water to appease the water spirits and bring good fortune for the coming year. The festive air is enhanced by beauty paegents and other fun acticivities.


Buddhist 'lent'




- Khao Pansa, a public holiday: this is the traditional time of year for young men to enter the monkhood and for monks to station themselves in their monastary for three months over the rainy season. It is a good time to observe a Buddhist ordination.



Chinese New Year




- Feb/March: The Chinese population all over Thailand celebrate their lunar new year in late February/early march. (The date shifts from year to year). It is a week of house cleaning, lion dances and fireworks.



Songkran






- 13, 14 &15 April: Mid April sees the celebration of the lunar new year in Thailand. Buddha images are bathed. Monks and elders receive the respect of younger Thais by the sprinkling of water over their hands. And a lot of water is tossed about for fun. Bangkok empties out and businesses shut down as people head home to the provinces. Expect to be soaked wherever you are!



Rocket festival




- May/June A rocket festival is held in May in the country's northeast during which villagers craft skyrockets of bamboo and gunpowder which they fire into the sky to send rain for the new rice season.

5 February 2010

The Thai wai (ไหว้แบบไทย)

The Thai wai


The Thai sign of salutation or mutual recognition is to raise both hands, joined palm to palm, lightly touching the body somewhere between the face and chest. The higher the hands are raised, the greater is the respect and courtesy conveyed. The person who is inferior in age or rank in the social scale of precedence initiates such a movement of the hands and the person receiving the salutation immediately reciprocates.

The Thai salutation may be rendered while sitting, standing, walking or even lying in bed during illness. In rendering a salutation while standing to a most respected person who is sitting, one, as a decorum of good manners, will stoop or bend the head at the same time. When taking leave, the departing person will offer a salute in the same manner, followed in turn by a corresponding salute from the other person. Such a salutation is called a wai in Thai, and is often seen in Thai society.


When to Wai :


The question of when to wai and how to wai is learnt from the earliest days of childhood. It comes naturally for a Thai, but is a problem for the visitor. A wai is not only reserved for greetings and farewells, but for a manner of other reasons too. When a person is receiving anything from a senior, he will raise his hands and wai to the giver as a polite gesture of thanks before or after receiving it as circumstances demand.
When someone is asking someone’s pardon or favour, one usually makes such a wai too. During a Buddhist sermon, monks and lay persons will sit respectfully with their hands to chest level in a wai. A group of students passing their teacher at school will come smartly to attention and wai and bow with almost military precision. On buses and in taxis passengers wai sacred places and revered statues of past kings and they pass by. Even the drives quickly take their hands off the wheel for a quick wai to shrine put up to protect road users.


Who to wai :

The best advice to foreigners in Thailand is that unless you receive a wai first, stick to the handshake with men and a polite smile with women. As you spend more time in Thailand, you will soon learn some important rules..

- Do not wai servants, laborers, children and other people of an obviously lower social status than yours.

- If you receive a high wai, reply with a lower wai.

- The safest people to wai are monks and the very old
(but not if they are your servants or street vendors)

- The appropriate deferent position is shown by lowering
the head and body, not by raising the hands.

- Remember
, a wai is not a “Hello”. Overuse would devalue its meaning.


How to Wai :

Children are taught at a very early age how to show proper respect to their seniors. They are drilled both at home and at school to perform the wai correctly. One final thing to remember is that the raising of the hands to wai and the lowering of the hands to a normal position should never be done with a sharp movement but rather in a more or less graceful manner such as in slow motion.